Page 35 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 35

วัสดุเสริมก ำลังในคอนกรีต

                     คอนกรีตมีความสามารถในการรับแรงกดได้ดี แต่อย่างไรก็ตามคอนกรีตสามารถแตกหักได้ง่ายเมื่อรับแรงดึง

              การใส่วัสดุเสริมก าลังในคอนกรีตมีหน้าที่ช่วยให้คอนกรีตมีความสามารถในการรับแรงได้มากขึ้น การติดตั้งวัสดุเสริม

              ก าลังลงในคอนกรีต ต้องติดตั้งให้ถูกต้องตามแบบ หากติดตั้งวัสดุเสริมก าลังไม่มีคุณภาพ อาจท าให้เกิดการแตกร้าวของ

              โครงสร้างคอนกรีตได้
                     งานติดตั้งวัสดุเสริมก าลังในคอนกรีตต้องค านึงถึง คุณสมบัติในการรับแรงดึง ระยะการดัดงอ รอยต่อของวัสดุให้

              มีคุณภาพโดยมีองค์ประกอบมาจาก

                     1) การเลือกใช้วัสดุ และชนิดของอุปกรณ์ในการติดตั้งวัสดุเสริมก าลังในคอนกรีตให้ตรงตามข้อก าหนดในแบบ

              ก่อสร้างหรือรายการประกอบแบบ เช่น เหล็กข้ออ้อยมีมาตรฐานบังคับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.24-2559 เกรด

              SD30, SD40

                     2) ขั้นตอนการด าเนินงานตรงตามข้อก าหนดในแบบก่อสร้าง หรือรายการประกอบแบบ เช่น เหล็กเสริมต้องผูก
              ยึดเหล็กด้วยลวดอ่อน ซึ่งในบางโครงสร้างเป็นโครงสร้างที่มีความยาวมากกว่าเหล็ก 1 เส้น จึงต้องมีการต่อทาบเหล็ก

              การต่อทาบเหล็กต้องยึดกันด้วยลวดผูกเหล็ก

                     3) การตรวจสอบคุณภาพการติดตั้งวัสดุเสริมก าลังในคอนกรีต เช่น ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเหล็กเสริมก่อน

              น าไปใช้ ต้องสมบูรณ์พร้อมใช้งาน ได้มาตรฐานการผลิตจากโรงงาน ปราศจากสนิมโดยเฉพาะสนิมด า(สนิมขุม) ที่มี

              ลักษณะเป็นเกล็ดเหล็กหลุดร่อน ซึ่งเกิดจากการกัดกร่อนเนื้อภายในของเหล็กสนิม โดยทั่วไปที่พบเห็นเป็นฝุ่นสีส้ม ๆ

              แดง ๆ นั้น เป็นสนิมผิว สามารถขัดล้างออกแล้วน าเหล็กมาใช้งานได้
                     4) การแก้ไขงาน เช่น หากพบเหล็กเสริมที่มีระยะการต่อทาบไม่ถึงกับระยะที่ก าหนดในแบบก่อสร้าง ต้องเลื่อน

              ให้ได้ระยะทาบ

                     5) ข้อควรระวังในการติดตั้งวัสดุเสริมก าลังในคอนกรีต เช่น ระมัดระวังเรื่องจ านวนและขนาดของเหล็กเสริมที่

              น ามาติดตั้งต้องตรงตามแบบก่อสร้างก าหนด


                     เหล็กเส้น


                     เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการเสริมก าลังคอนกรีตในงานก่อสร้างทั่วไปคือเหล็ก ซึ่งเหล็กตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
              เป็นตัวบ่งชี้ถึงคุณภาพของเหล็กที่น ามาใช้ในการก่อสร้าง โดยแบ่งเป็น เหล็กเส้นกลม มีมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.20-

              2559 เกรด SR24 ขนาด RB6 และ RB9 ชนิดเส้นความยาว 10 เมตร/เส้น ชนิดม้วนมีน้ าหนักต่อขดโดยเฉลี่ย 1.5-2

              ตัน/ขด เหล็กข้ออ้อยมีมาตรฐานบังคับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.24-2559 เกรด SD30, SD40 และ ขนาดDB12,

              DB16, DB20, DB25 ความยาว 10 และ 12 เมตร







                                                              24
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40