Page 41 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 41
ระยะหุ้มเหล็กเสริมทั่วไป
ระยะหุ้มต่ าสุด
ลักษณะงานก่อสร้าง
(มิลลิเมตร)
งำนคอนกรีตหล่อในที่ (ไม่อัดแรง)
1. งานคอนกรีตหล่อติดกับดิน โดยใช้ดินเป็นแบบ และผิวคอนกรีตสัมผัสกับดินตลอดเวลา 75
ที่ใช้งาน
2. คอนกรีตที่สัมผัสกับดินหรือถูกแดดฝน
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 20 มิลลิเมตร ถึง 36 มิลลิเมตร 50
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มิลลิเมตร และเล็กกว่า 40
3. คอนกรีตที่ไม่สัมผัสดิน หรือไม่ถูกแดดฝน
ในผนัง,แผ่นพื้นและตง
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มิลลิเมตร ขึ้นไป 40
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 20 มิลลิเมตร ถึง 36 มิลลิเมตร 30
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มิลลิเมตร และเล็กกว่า 20
ในคำนและเสำ
-เหล็กเสริมหลัก เหล็กลูกตั้งในคาน 40
-เหล็กเสริมหลัก เหล็กปลอกเดี่ยวหรือเหล็กปลอกเกลียวในเสาในหลังคาเปลือกบาง 40
และแผ่นพื้นพับจีบ
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 20 มิลลิเมตร ขึ้นไป 20
-ส าหรับเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มิลลิเมตร และเล็กกว่า 13
ข้อก าหนดระยะหุ้มเหล็ก
กำรปรับปรุงแก้ไข
1) หากพบเหล็กเสริมที่มีระยะการต่อทาบไม่ถึงกับระยะที่ก าหนดในแบบก่อสร้าง ต้องเลื่อนให้ได้ระยะทาบ
ตามระบุในแบบ
2) ส าหรับเหล็กเสริมที่เป็นสนิมให้ขัดด้วยแปรงขัดเหล็ก หากพบว่าเหล็กเสียหายมากให้เปลี่ยนเหล็กเส้นใหม่
แทน
ข้อควรระวังในกำรท ำงำน
1) ระมัดระวังเรื่องจ านวนและขนาดของเหล็กเสริมที่น ามาติดตั้งต้อง ตรงตามแบบก่อสร้างก าหนด
2) หากเหล็กเสริมมีการผูกลวดทิ้งไว้นานก่อนการเทคอนกรีต อาจท าให้เกิดสนิม จึงต้องท าความสะอาดเหล็ก
ก่อนด าเนินการเทคอนกรีต
30