Page 50 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 50
ทั่วถึงและเทคอนกรีตลงไปอีก 1 ใน 3 ของความสูงและกระทุ้ง ท าซ้ าจนเต็มกรวยทดสอบ หลังจากนั้นจึงค่อย ๆ ยกรวย
ทดสอบขึ้นตรง ๆ วัดระยะความสูงของคอนกรีตที่ได้เทียบกับความสูงของกรวยทดสอบ
การยุบตัวของคอนกรีต
4) ตรวจสอบระยะความสูงในการเทคอนกรีต ฐานราก คาน พื้น บันไดหลัก ต้องไม่เกิน 2 เมตร เพื่อป้องกัน
การแยกตัวของคอนกรีต
5) ควบคุมการเขย่าคอนกรีตด้วยเครื่องจี้ ที่จุด ๆ หนึ่งต้องไม่เกินระยะเวลา 15 วินาที และเว้นระยะที่จุดถัดไป
30 - 50 เซนติเมตร
6) ตรวจสอบค้ ายันระหว่างการเทคอนกรีต โดยต้องไม่มีการโก่งงอหรือเคลื่อนต าแหน่ง หากพบต้องรีบเสริมไม้
ค้ ายันและหยุดการเทคอนกรีตชั่วคราว เพื่อป้องกันการพังทลายของแบบหล่อคอนกรีต
7) ตรวจสอบหลังการถอดแบบหล่อคอนกรีต ต้องไม่มีโพรงจนเห็นเหล็กเสริมในเนื้อคอนกรีต หากพบให้ติดต่อ
ผู้ออกแบบเพื่อสอบถามขั้นตอนการด าเนินการต่อไป
กำรปรับปรุงแก้ไข
1) หลังถอดแบบหากพบปัญหาโพรงจนเห็นเหล็กเสริมในเนื้อคอนกรีต ให้ปรึกษาวิศวกรผู้ออกแบบเพื่อหาทาง
แก้ไข เช่น การซ่อมด้วยปูน non-shrink เป็นต้น
2) กรณีเทคอนกรีตหยุดที่ปลายหัวเสามากกว่า 5 เซนติเมตร ให้ปรึกษาวิศวกรผู้ออกแบบเพื่อหาทางแก้ไข เช่น
การซ่อมด้วยปูน non-shrink เป็นต้น
39