Page 16 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 16
บทที่ 2
งำนเสำเข็ม
งำนเสำเข็มตอก
เสาเข็มตอกพบได้มากในโครงการก่อสร้าง เนื่องจากการท าเสาเข็มตอกเหมาะสมกับบริเวณที่มีชั้นดินแข็งไม่ลึก
มากจากระดับผิวดิน ดินมีลักษณะเป็นดินร่วนหรือดินทรายซึ่งมีความสามารถในการรับน้ าหนักปลายเสาเข็มได้ดี การ
ด าเนินงานเสาเข็มตอกที่มีคุณภาพจะช่วยป้องกันปัญหาการทรุดตัวของโครงสร้างในภายหลังได้
ขั้นตอนกำรท ำงำน
ก. กำรเจำะส ำรวจดินก่อนกำรตอก
(เป็นไปตามดุลยพินิจของผู้ออกแบบและข้อตกลงกับเจ้าของโครงการ ในกรณีพื้นที่ก่อสร้างบริเวณ
กรุงเทพมหานครสามารถใช้ผังการส ารวจดินอ้างอิงได้)
การเจาะส ารวจดินสามารถตรวจสอบลักษณะทางวิศวกรรมของชั้นดินได้ โดยสามารถตรวจสอบความแน่นหรือ
ความแข็งของชั้นดิน คุณสมบัติของดิน และยังสามารถตรวจสอบระดับน้ าใต้ดิน ท าให้การเจาะส ารวจดินสามารถ
ตรวจสอบความสามารถในการรับน้ าหนักของดินได้อย่างถูกต้อง
เสาเข็มเมื่อวางตัวอยู่บนชั้นดินแข็งจะสามารถรับน้ าหนักได้มาก ซึ่งอาจไม่พบปัญหาการทรุดตัว หากมีการใช้
งานน้ าหนักตามที่ออกแบบ ปัญหาที่พบส่วนใหญ่มักเป็นดินทรุดตัว ท าให้เห็นโครงสร้างลอยอยู่ เพราะโครงสร้างที่วาง
บนชั้นดินแข็งไม่เกิดการทรุดตัว หรือหากเกิดการทรุดตัวผู้ออกแบบจะออกแบบให้เกิดการทรุดตัวอย่างเท่ากันของ
เสาเข็ม ซึ่งจะไม่สร้างความเสียหายกับโครงสร้างหลัก
ค่าใช้จ่ายในการเจาะส ารวจดินพิจารณาตามความลึกและจ านวนหลุมที่ท าการเจาะส ารวจ โดยเป็นไปตาม
ข้อตกลงระหว่างบริษัทรับสร้างบ้านและเจ้าของบ้าน
ข. ขั้นตอนกำรตอกเสำเข็มสั้น
เสาเข็มสั้น (ความยาวไม่เกิน 6 เมตร) นิยมใช้กับพื้นที่ที่มีชั้นดินแข็งอยู่ไม่ลึกจากผิวดินมากรวมไปถึงส าหรับ
โครงสร้างที่มีน้ าหนักไม่มาก เช่น บ้านพักอาศัย ท าให้การใช้เสาเข็มสั้นก็เพียงพอต่อการรับน้ าหนัก การตอกเสาเข็มสั้น
สามารถใช้แรงงานคนหรือสามเกลอได้เพราะมีความยาวไม่มาก
1) ผู้ควบคุมงาน ตรวจสอบจ านวนและคุณสมบัติของเข็มที่จะท าการตอกต้องถูกต้องตรงตามการออกแบบ
รวมถึงวางแผนการจัดการผลกระทบต่อพื้นที่รอบข้างที่อาจเกิดจากการสั่นสะเทือน เสียง และการดันตัวของดิน
2) ก าหนดระยะและต าแหน่งของเสาเข็มที่จะท าการตอกให้ถูกต้อง
3) ล าดับขั้นตอนและทิศทางในการตอกเสาเข็ม โดยให้เริ่มตอกจากบริเวณใกล้เคียงอาคารรอบข้างก่อน
5