Page 227 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 227
ค. กำรเดินสำยเปิดหรือเดินลอยบนวัสดุฉนวน
1) การเดินสายไฟในบ้านแบบเดินลอย เป็นการเดินสายไฟบ้านโดยยึดสายไฟให้ติดกับผนังหรือเสาที่เชื่อมต่อไป
ยังเต้ารับและเครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อดีของการเดินสายไปบ้านแบบนี้คือมีค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่า สามารถตรวจสอบและซ่อมแซม
ได้ง่าย สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่มีข้อเสียคือหากเดินสายไฟไม่เรียบร้อยจะท าให้ดูไม่สวยงาม โดยเฉพาะหากมี
เครื่องใช้ไฟฟ้าจ านวนมาก อาจจะท าให้จ านวนสายไฟดูรกเต็มผนังบ้าน
การเดินสายไฟแบบเดินลอยในปัจจุบันมีการร้อยสายไฟผ่านท่อพีวีซีหรือท่อเหล็ก ท าให้ดูเรียบร้อยและสวยงาม
มากขึ้น
2) ส าหรับการเดินสายเปิดบนวัสดุฉนวนหมายถึงวิธีการเดินสายแบบเปิดโล่งโดยใช้ตุ้มหรือถ้วยเพื่อการจับยึด
สายที่ใช้ต้องเป็นสายแกนเดียวและต้องไม่ถูกปิดบังด้วยโครงสร้างของอาคาร
การเดินสายไฟลักษณะนี้ต้องป้องกันความเสียหายทางกายภาพและการผุกร่อนจากสถานที่ชื้น เนื่องจากอาจ
ก่ออันตรายกับผู้ใช้งานหรือผู้ใกล้ชิดได้ง่าย
ง. กำรเดินสำยส ำหรับแรงดันต่ ำ
1) การเดินสายส าหรับระบบแรงดันต่ า ต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ อาจใช้การเดินสายผ่าน
โครงสร้างไม้ที่ต้องเจาะรูผ่านกลางโดยรูที่เจาะต้องห่างจากขอบไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร หากรูที่เจาะห่างจากขอบน้อย
กว่า 30 มิลลิเมตร หรือเดินสายในช่องบากต้องป้องกันไม่ให้สัมผัสตะปู
2) ส่วนในกรณีการเดินสายที่เปลือกนอกไม่เป็นโลหะผ่านโครงสร้างโลหะที่เจาะเป็นรู ต้องมีแผ่นยางหรือ
พลาสติกส าหรับแยกสาย bushing grommet ยึดเพื่อป้องกันฉนวนของสายช ารุด
Bushing grommet
3) การเดินสายไฟต้องค านึงถึงการป้องกันไม่ให้เกิดการเหนี่ยวน าในเครื่องห่อหุ้มหรือท่อร้อยสายที่เป็นโลหะ
จ านวนสายไฟสูงสุดในท่อร้อยสายไฟรวมไปถึงการก าหนดสีของสายไฟหุ้มฉนวน
4) การเดินสายไฟเปลือยต้องมีการเว้นระยะห่างเพื่อความปลอดภัยในการเดินสายไฟฟ้าเปลือยกับสิ่งก่อสร้าง
ดังตาราง
216