Page 208 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 208
กำรตรวจสอบคุณภำพ
1) ผู้ควบคุมงานต้องตรวจสอบลักษณะทางกายภาพต้องไม่มีการแตกร้าว บิดงอ และต้องได้มาตรฐานการผลิต
ถ้าเป็นท่อที่ใช้ส าหรับน้ าดื่มต้องได้ มอก.17-2532
2) ผู้ควบคุมงานต้องตรวจสอบรอยต่อของท่อโดยต้องใช้ข้อต่อ ตัวขยาย/ลดขนาดท่อที่ถูกต้อง มีความติดแน่น
คงทนและแข็งแรง ไม่มีการหยดรั่วซึมของน้ า
3) ผู้ควบคุมงานต้องทดสอบระบบท่อประปาภายในอาคารก่อนการส่งมอบโดย
ให้ทดสอบการรั่วซึมของน้ าในระบบท่อประปาน้ าดีภายในอาคารต้องท าเป็นช่วง ๆ ทั้งในช่วงที่เริ่มฝังท่อทั้งในดิน
หรือในผนัง เมื่อท าการติดตั้งระบบท่อประปาเรียบร้อยทั้งระบบแล้วจึงทดสอบระบบประปาทั้งหมดก่อนการติดตั้ง
สุขภัณฑ์เพื่อตรวจสอบการรั่วซึมโดยต้องปฏิบัติตามขั้นตอน (ท่อPVC)
3.1.ปิดก๊อกต่าง ๆเพื่อไม่ให้น้ าไหลออกระบบท่อ
3.2.ใช้น้ าอัดเข้าไปในระบบที่ความดันใช้งานร้อยละ 50 ของความดันใช้งานเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
(ท่อPVC 5 ทดสอบด้วยความดัน 2.5 บาร์, ท่อPVC 8.5 ทดสอบด้วยความดัน 4 บาร์, ท่อPVC 13.5 ทดสอบด้วยความ
ดัน 6.75 บาร์)
3.3.ตรวจสอบรอยรั่วซึม
3.4.หากพบความบกพร่องให้แก้ไขทันที
ส าหรับการทดสอบความดันของท่อ PPR ให้ท าการทดสอบด้วยความดัน 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุด
โดยการทดสอบประกอบไปด้วย 3 ช่วง
3.5 ก่อนอัดความดัน ควรไล่อากาศออกจากระบบท่อก่อน
3.6 อัดความดัน 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุดและปล่อยค้างไว้เป็นเวลา 10 นาที (ท่อน้ าอุ่น PN 10
ทดสอบด้วยความดัน 15 บาร์, ส าหรับท่อน้ าร้อน PN20 ทดสอบด้วยความดัน 30 บาร์)
ข้อแนะน าในการทดสอบความดัน
หลังการติดตั้งแล้ว ต้องทดสอบความดัน เป็น 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุด (Maximum working
pressure) การทดสอบความดันประกอบด้วย 3 ช่วง มีวิธีการดังนี้
1. ก่อนอัดความดัน ควรไล่อากาศออกจากระบบท่อก่อนทุกครั้ง
2. อัดความดัน 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุด ปล่อยไว้เป็นเวลา 10 นาที
3. ปล่อยความดันทั้งหมด แล้วอัดความดันใหม่ที่ก าหนด ปล่อยไว้เป็นเวลา 10 นาที
4. ปล่อยความดันทั้งหมด แล้วอัดความดันใหม่ที่ก าหนด ปล่อยไว้เป็นเวลา 1 ชั่วโมง
5. เมื่อครบก าหนด ตรวจสอบความดันต้องไม่ลดจากที่ก าหนด และไม่มีรอยรั่ว
197