Page 210 - คู่มือมาตรฐานงานก่อสร้างบ้านพักอาศัย
P. 210

3.7 ปล่อยความดันทั้งหมดแล้วอัดความดันใหม่ที่ก าหนดและปล่อยค้างไว้เวลา 10 นาที

                      3.8 ปล่อยความดันทั้งหมดแล้วอัดความดันใหม่อีกครั้งแล้วปล่อยค้างไว้เป็นเวลา 1 ชั่วโมง

                      3.9 เมื่อครบก าหนดให้ตรวจสอบความดันต้องไม่ลดลงจากที่ก าหนด และไม่มีรอยการรั่วซึม
                     4) ผู้ควบคุมงานต้องตรวจสอบจุดหักหรือข้องอของท่อที่รับแรงดัน ต้องมีตัวซัพพอร์ทยึดรั้งเพื่อช่วยรับแรง

              กระแทกภายในท่อ รวมถึงตรวจสอบการติดตั้ง Air chamber เพื่อรับแรงกระแทกจากการเปิด/ปิดใช้งานสุขภัณฑ์อย่าง

              รวดเร็ว




              งำนท่อระบำยน้ ำ

                   ท่อระบายน้ าเป็นท่อที่ต้องรองรับน้ าที่ใช้แล้วจากอาคารโดยถูกติดตั้งไว้ภายนอกอาคารท่อระบายน้ าจะรวบรวม

              น้ าทิ้งให้เข้าสู่บ่อพักและบ่อดักไขมันก่อนที่จะถ่ายออกไปยังภายนอกต่อไป การติดตั้งท่อระบายน้ าที่มีคุณภาพสามารถ

              ระบายน้ าได้ดี มีความลาดเอียงเหมาะสม ไม่เกิดการเอ่อล้นขึ้นมาสู่ผิวดิน


              ขั้นตอนกำรท ำงำน

                   วัสดุและอุปกรณ์ที่ระบุภายในเนื้อหาส่วนนี้เป็นตัวอย่างวัสดุและตัวอย่างขั้นตอนการติดตั้ง ผู้ใช้งานควร

              ด าเนินการติดตั้งตามข้อก าหนดของผู้ผลิตวัสดุและอุปกรณ์


                   ก. หลักกำรต่อท่อและอุปกรณ์
                   1) แนวทางการวางท่อ ทิศทางการขุด ระดับการฝังท่อ วัสดุที่ใช้ในการรองรับท่อระบายน้ าและการต่อท่อ ต้อง

              วางแผนก่อนด าเนินการท างานให้ครบถ้วน
















                                                  แผนการติดตั้งท่อและทิศทางการไหล


                   2) การขุดส าหรับวางท่อต้องขุดให้ลึกเกินระดับการวางท่อระบายน้ าลงไปอีกเล็กน้อย เพื่อเป็นการเผื่อระยะความ

              หนาของทรายปรับระดับและวัสดุส าหรับรองรับท่อระบายน้ า
                   3) การปรับระดับพื้นที่ด้วยทราย บดอัดให้แน่นตามข้อก าหนดในแบบก่อสร้างโดยทิศทางความลาดเอียงหรือทิศ

              ทางการไหลของน้ าต้องตามแบบก่อสร้าง




                                                             199
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215